เขมร แปล ไทย

การ ตรวจ ตา

สามขา-ดด-จาน-ไฟ

1 ตาขาว ( Sclera) คือ ส่วนสีขาวของนัยน์ตา ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเหนียวไม่ยืดหยุ่นแต่แข็งแรง ทำหน้าที่หุ้มลูกตาไว้ ด้านหลังลูกตา มีกล้ามเนื้อยืดอยู่ 6 มัด ทำให้กลอกตาไปทางซ้ายขวา หรือขึ้น-ลงได้ ผนังด้านหน้าของลูกตาเป็นเนื้อเยื่อใสเรียกว่า กระจกตา (Cornea) ซึ่งหากมีจุดหรือรอยถลอกเพียงเล็กน้อยจะรบกวน การมองเห็น และทำให้เคืองตาได้มากถ้าเป็นฝ้าขาวทำให้ตาบอดได้ 2. 2 ตาดำ คือ ส่วนที่เป็น ม่านตา ( Iris) มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อยืดหดได้และมีสีตามชาติพันธุ์ คนไทยส่วนใหญ่มีตาสีน้ำตาลเข้ม ดูเผินๆ คล้ายสีดำ จึงเรียกว่าตาดำ ตรงกลางม่านตามีรูกลม เรียกว่า รูม่านตา (Pupil) ซึ่งเป็นทางให้แสงผ่านเข้าทำให้เข้ารูม่านตาได้เหมาะ คือถ้าเราอยู่ในที่สว่างมาก ม่านตาจะหดแคบ รูม่านตาก็จะเล็กลง ทำให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้น้อยลง เราจึงต้องทำตาหรี่ หรือหรี่ตาลง ถ้าอยู่ในที่สว่างน้อย ม่านตาจะเปิดกว้าง ทำให้แสงผ่านเข้าตาได้มากและทำให้มองเห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น เราจึงต้องเบิกตากว้าง 2. 3 แก้วตา ( Lens) อยู่หลังรูม่านตา มีลักษณะเป็นแผ่นใสๆ เหมือนแก้ว คล้ายเลนส์นูนธรรมดา มีเอ็นยึดแก้วตา (Ciliary muscle) ยึดระหว่าง แก้วตาและกล้ามเนื้อ และกล้ามนี้ยึดอยู่โดยรอบที่ขอบของแก้วตา กล้ามเนื้อนี้ทำหน้าที่ปรับแก้วตาให้โค้งออกมาเมื่อมาเมื่อมองภาพในระยะใกล้ และปรับแก้วตาให้แบนเมื่อมองในระยะไกล ทำให้มองเห็นภาพ ได้ชัดเจนทุกระยะ 2.

การ ตรวจ สอบ fire alarm ตามกฎหมาย

ตา เป็นอวัยวะที่ช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆได้ ตามีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ 1. ส่วนประกอบภายนอกตา ได้แก่ 1. 1 คิ้ว ( Eyebrow) ทำหน้าที่ป้องกันมิให้เหงื่อไหลเข้าตา 1. 2 ขนตา (Eyelashes) ช่วยป้องกันไม่ให้ฝุ่นละอองเข้าตา 1. 3 หนังตา ( Eyelids) ทำหน้าที่ช่วยปิดเปิดเพื่อรับแสงและควบคุมปริมาณของแสงสู่นัยน์ตา ป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับตาและหลับตา เพื่อให้นัยน์ตาได้พักผ่อน นอกจากนี้การกระพริบตายังจะช่วยรักษาให้นัยน์ตาชุ่มชื้นอยู่เสมอ โดยปกติคนเรากระพริบตา 25 ครั้ง / นาที 1. 4 ต่อมผลิตน้ำตา ( Lacrimal Gland) ตำแหน่งอยู่บริเวณด้านบนของหางตา ทำหน้าที่ผลิตน้ำตาเพื่อหล่อเลี้ยงผิวตาให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา โดยมีขอบตาทำหน้าที่เกลี่ยน้ำตาให้กระจายทั่วถึงในขณะที่มีการกระพริบตา น้ำตาส่วนใหญ่จะระเหยไปในอากาศ ส่วนที่เหลือระบายออกที่รูระบายน้ำตา ซึ่งอยู่ที่หัวตา รูนี้เชื่อมกับท่อน้ำตาที่ต่อไปถึงในจมูก ถ้าต่อมผลิตน้ำตาขับน้ำตาออกมามาก เช่นเมื่อร้องไห้ น้ำตาจะถูกระบายออกที่รูระบายน้ำตา และเข้าไป ในจมูก ทำให้คัดจมูกได้ 2. ส่วนประกอบภายในดวงตา คือ ส่วนที่เรียกว่าลูกตา มีรูปร่างเป็นทรงกลมรี ภายในมีของเหลว ลักษณะเป็นวุ้นใสคล้ายไข่ดาวบรรจุอยู่เต็ม อวัยวะที่สำคัญของส่วนประกอบภายในลูกตา ได้แก่ ตาขาว ตาดำ แก้วตา และจอตา(Retina)หรือฉากตา 2.

การตรวจตาบอดสี

ควรระมัดระวังเรื่อง อุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ผู้ที่มีประวัติความดันโลหิตสูงอาจมีอาการความดันโลหิตสูงกะทันหันจากการหยอดขยายม่านตา บางชนิดได้ ในผู้ป่วยโรคต้อหินชนิดเฉียบพลัน อาจมีอาการปวดตามากขึ้น แนะนำมาพบจักษุแพทย์ทันที สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่: ศูนย์จักษุ โทร. 034-417-999 ต่อ 277 สายด่วน 17 15 admin 2019-05-29T09:48:01+07:00

Q & A - สำนักยาและวัตถุเสพติด Bureau of Drug and Narcotic

ไม่ควรขับรถเอง เนื่องจากหนึ่งในขั้นตอนการตรวจสุขภาพตา นั้นคือ การหยอดยาขยายม่านตา ซึ่งผลของยานี้จะทำให้คนไข้มีอาการดังต่อไปนี้ มองเห็นไม่ชัดเจน ภาพเบลอ มองใกล้ลำบาก เมื่อใส่แว่นหรือคอนแทคเลนส์ สู้แสงจ้าลำบาก อาจช่วยบรรเทาได้โดยการสวมแว่นกันแดด (ในกรณีที่ท่านนัดตรวจในตอนกลางวัน) อาจมีอาการวิงเวียนศีรษะ * * อาการดังกล่าว จะมีผลเป็นเวลา 4-6 ชั่วโมง ดังนั้น จึงไม่แนะนำให้คนไข้ขับรถเอง ในช่วงเวลาที่มีอาการดังกล่าว TRSC ขอแนะนำให้ผู้เข้ารับการรักษาใช้บริการรถแท๊กซี่ หรือ หาคนขับรถให้ในวันตรวจ 3. การหยุดใช้ยาบางประเภท เช่น ยาแก้สิว Roaccutane, Acnotin หรือ Isotane ควรหยุดยาก่อนวันตรวจสุขภาพตา และก่อนผ่าตัด อย่างน้อย 1 เดือนเต็ม เนื่องจากยาชนิดนี้ส่งผลให้เยื่อบุต่างๆ แห้งกว่าปกติ รวมถึงผิวกระจกตาด้วย 4. การใช้ยารักษาโรคประจำตัวอื่นๆ หากท่านมีการใช้ยารักษาโรคประจำตัวอื่นๆ ใดอยู่ กรุณาแจ้งให้แพทย์ทราบในวันตรวจ โดยเฉพาะยาไทรอยด์ และยานอนหลับ ทุกชนิด แต่ท่านยังคงใช้ยาได้ตามปกติไม่ต้องหยุดยาใดๆ ในวันตรวจ 5. สุภาพสตรีต้องไม่อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์ สุภาพสตรีต้องไม่อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์ หากคลอดบุตรแล้ว ควรมีประจำเดือนมาปกติอย่างน้อย 2 ครั้งติดต่อกัน เนื่องจากการตั้งครรภ์และการให้นมบุตร ส่งผลต่อฮอร์โมนร่างกาย ทำให้ส่งผลกระทบต่อค่าการวัดสายตาที่ไม่เที่ยงตรง

การตรวจตา

ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ต้องพึ่งยาฉีดอินซูลิน ควรได้รับการตรวจตาทันทีที่ทราบว่าเป็นเบาหวาน ส่วนผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องพึ่งอินซูลิน ในระยะ 5 ปีแรกอาจยังไม่จำเป็นต้องตรวจตา (แต่จะตรวจก็ได้) ถ้าผลการตรวจครั้งแรกพบว่าเบาหวานยังไม่ขึ้นตา ควรตรวจซ้ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง แต่ถ้าพบมีเบาหวานขึ้นจอตาแล้ว อาจจำเป็นต้องตรวจบ่อยขึ้น เช่น ทุก 3-6 เดือน แล้วแต่ความรุนแรง การรักษา วิธีการรักษาเบาหวานขึ้นจอตา ขึ้นกับระยะของเบาหวานขึ้นจอตา 1. เบาหวานขึ้นจอตาระยะต้น (NPDR) ถ้ามีเพียงจุดไมโครอะนูริซึมและจุดเลือดออกเพียงเล็กน้อย การมองเห็นยังดีอยู่ ยังไม่จำเป็นต้องรักษาทางตา เพียงแต่ให้คุมเบาหวานให้ดี แต่ถ้าเป็นมากขึ้น จนกระทั่งมีจุดภาพชัดบวมน้ำ จำเป็นต้นให้การรักษาด้วยแสงเลเซอร์ 2.

การตรวจตา va

2. 1 กระจกตา ใช้ไฟฉายส่องดูอาจพบ กระจกตาขุ่น (hazy) สารไขมันเกาะติดภายในชั้นกระจกตาส่วนริม (arcus senilis) แผลที่กระจกตา (corneal ulcer) สิ่งแปลกปลอมที่กระจกตา (corneal foreign body) 1. 2 ช่องหน้าม่านตา(anterior chamber / AC) ใช้ไฟฉายส่องทะแยงเข้าไปจะเห็นความใสและความลึกได้ อาจพบ ช่องหน้าม่านตาตื้น (shallow) ปกติ 2 –4. 5 ม. ม. มีเลือดในช่องหน้าม่านตา (hyphema) มีหนองในช่องหน้าม่านตา (hypopyon) 1. 3 ม่านตา (iris) ใช้ไฟฉายส่องซึ่งควรเห็นลักษณะของม่านตาได้ชัดเจน แต่อาจพบ ม่านตาแหว่ง (coloboma) ม่านตาฝ่อ (iris atrophy) ม่านตาติดกับอวัยวะข้างเคียง (synechiae) ม่านตาสั่นพลิ้ว (iridodonesis) ม่านตาหลุดลอก (iridodialysis) 1. 4 รูม่านตา (pupil) ควรให้ผู้ป่วยสองไกลๆ แล้วส่องไฟฉายดู อาจตรวจพบความผิดปกติได้แก่ รูม่านตาไม่กลม (irregular pupil) รูม่านตาขนาดไม่เท่ากัน (anisocoria) รูม่านตาหลายรู (polycoria) 1. 5 แก้วตา (lens) ปกติจะใสและโปร่งถ้าขุ่นเล็กน้อยจะมองไม่เห็นด้วยไฟฉายอาจตรวจพบความผิดปกติ ไม่มีแก้วตา (aphakia) ต้อกระจก (cataract) เลนส์แก้วตาเทียม (intraocular lens) 1. 3 การตรวจภายในลูกตาส่วนหลัง ไม่สามารถตรวจได้ด้วยไฟฉาย ต้องใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Ophthalmoscope

สุขภาพตากับเด็กยุคดิจิตอล | โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์

การวัดสายตาด้วยเครื่องวัดสายตาอัตโนมัติ หากท่านไม่สามารถมองเห็นได้ในระดับ 20/20 การตรวจด้วยเครื่องวัดสายตาอัตโนมัติ สามารถตรวจหาความผิดปกติในการมองเห็นของท่านได้ เช่น สายตาสั้น สายตายาวโดยกำเนิด และสายตาเอียง ซึ่งเกิดจากกำลังการรวมแสงไม่พอดีกับความยาวของลูกตา การวัดสายตาด้วยเครื่องวัดสายตาอัตโนมัติ สามารถหาค่าความผิดปกติในการมองเห็นของท่าน และมีการเปลี่ยนเลนส์ในแบบต่างๆ เพื่อให้ได้การมองเห็นที่ดีที่สุดในตาแต่ละข้าง ซึ่งจักษุแพทย์จะใช้ผลจากการวัดสายตานี้ เพื่อใช้ตัดแว่นสายตาซึ่งเหมาะสมกับค่าสายตาของท่าน และค่าสายตาที่แน่นอนในการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ 3. การวัดความดันตา การวัดความดันตา เป็นการตรวจหาโอกาสที่จะเป็นโรคต้อหิน ซึ่งเกิดจากดวงตาไม่สามารถทนความดันภายในตัวเองได้ ผู้ที่เป็นโรคต้อหินส่วนใหญ่จะไม่มีอาการใดๆ และมีความดันตาสูงกว่าปกติซึ่งอยู่ที่ 10 - 20 มิลลิเมตรปรอท หากตรวจแล้วพบว่ามีความดันตาผิดปกติ จักษุแพทย์จะทำการตรวจอย่างละเอียดว่าเป็นโรคต้อหินหรือไม่ การวัดความดันตามีหลายวิธี และระดับความถูกต้องแม่นยำก็แตกต่างกันไป 4. พบจักษุแพทย์ ขั้นตอนสุดท้ายของการตรวจสุขภาพตา คือ การพบจักษุแพทย์ โดยจักษุแพทย์จะทำการตรวจอย่างละเอียด วิเคราะห์ผลการตรวจ และสรุปผลให้ท่านทราบ แพทย์อาจแนะนำให้มีการตรวจเพิ่มเติมอย่างละเอียด เพื่อหาโรคทางตาบางชนิด หรือ อาจแนะนำให้ใช้อุปกรณ์เพื่อช่วยในการมองเห็น เช่น แว่นสายตา และอาจมีการรักษาปัญหาที่พบในระหว่างการตรวจ หรือแนะนำให้ไปพบจักษุแพทย์เฉพาะทางเพื่อทำการรักษาต่อไป

ล้างตาฉุกเฉินและการอาบน้ำการตรวจสอบรายการตรวจสอบ - เหอเป่ย์ Runwangda การทำความสะอาดวัสดุ จำกัด, จำกัด

การตรวจตาเบื้องต้น
  1. Miniso keyboard ไทย tutorial
  2. การตรวจตาขั้นพื้นฐาน
  3. IPad Pro 12.9 Wi-Fi (ไอแพด Pro 12.9 Wi-Fi) : ข้อมูลสเปค แท็บเล็ต iPad Pro 12.9 Wi-Fi และราคาล่าสุด :: Techmoblog.com
  4. หอ เชียงใหม่ ราคา ถูก ผิด